หลักสูตรศิลปะและการออกแบบ
Bachelor of Fine and Applied Arts Program in Art and Design
ART

and DESIGN

รายละเอียดหลักสูตร
ชื่อหลักสูตร
หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศิลปะและการออกแบบ
Bachelor of Fine and Applied Arts Program in Art and Design
ชื่อปริญญา
ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต (ศิลปะและการออกแบบ)
Bachelor of Fine and Applied Arts (Art and Design
ชื่อย่อ
ศป.บ.(ศิลปะและการออกแบบ)
B.F.A. (Art and Design)
ปรัชญาของหลักสูตร
ศิลปะและการออกแบบเป็นสองศาสตร์แห่งการสร้างความรู้ทางวิชาการและงานสร้างสรรค์ด้านทัศนศิลป์และการออกแบบ ซึ่งส่งผลในระดับปัจเจก และสังคม ในส่วนคุณค่าทางสุนทรีย์และการขับเคลื่อนสังคม เศรษฐกิจ การเมืองและวัฒนธรรมอย่างสร้างสรรค์

วัตถุประสงค์
1. มีคุณธรรม จริยธรรมจิตสานึกสาธารณะในสาขาวิชาชีพทางศิลปะมีความรับผิดชอบต่อตัวเองและสังคม
2. มีความรู้ในหลักของฐานศาสตร์ทางศิลปกรรมที่เกี่ยวข้องทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ สามารถสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเพื่อประกอบอาชีพได้
3. มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินคุณค่าทางสุนทรียะได้อย่างมีวิจารณญาณ
4. มีความสามารถในการทางานรวมกับผู้อื่นและมีทักษะในการจัดการทางศิลปกรรม สามารถสื่อสารและนำเสนอแนวความคิดที่เป็นรูปธรรมผ่านผลงาน ทางศิลปกรรม
5. สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารและใช้ เทคโนโลยีได้ดี
6. สามารถแสดงออกและพัฒนาทักษะทางศิลปะได้ตามความถนัดและ ความสามารถเฉพาะตน

รายละเอียดหลักสูตร

จุดเด่นของหลักสูตร
1. การเรียนรู้จากชุมชน เช่น ชุมชนชาวไทลื้อเชียงคำ ชุมชนบ้านหม้อแกงทอง รอบมหาวิทยาลัย การเรียนรู้ด้านการทอผ้าไทลื้อ ชุมชนรอบกว๊านพะเยา และการปั้นดินจากผู้เชี่ยวชาญ
2. การแก้ไขปัญหาและการเรียนรู้จากบริบทและชุมชน
3. การสร้างสรรค์ผลงานจากพื้นฐานทางด้านศิลปะ
4. แก้ไขจากปัญหาของชุมชน และสร้างนวัตกรรมใหม่
5. สร้างสรรค์ผลงานที่สะท้อนจากตัวตนของผู้เรียน
6. ผลงานสร้างชื่อเสียงให้กับมหาวิทยาลัย
แผนการเรียน
ปี 1
สุนทรียศาสตร์
พื้นฐานศิลปะและการออกแบบ
วาดเส้น
พื้นฐานศิลปะและการออกแบบ 2
การวิเคราะห์และพัฒนาแนวคิดเบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เพื่อการสร้างสรรค์และการนำเสนอ
ประวัติศาสตร์ศิลปะและการออกแบบตะวันตก
Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 2 Gallery Thumb 3
ปี 2
ประวัติศาสตร์ศิลปะและการออกแบบตะวันออก
วัสดุและการสร้างสรรค์
ทฤษฎีแนวคิดและวัสดุ
การสร้างสรรค์ภาพถ่ายและภาพยนตร์
ภูมิปัญญาไทยและศิลปกรรมท้องถิ่น
หลักการแนวคิดการสร้างสรรค์ศิลปะและการออกแบบ
การพัฒนาแนวคิดการสร้างสรรค์
สื่อผสม
Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 2 Gallery Thumb 3 Gallery Thumb 4
ปี 3
วัฒนธรรมทางสายตา
การตลาดสำหรับศิลปะและการออกแบบ
การบูรณาการข้ามศาสตร์กับศิลปะและการออกแบบ
การสร้างสรรค์เชิงบูรณาการ
ปรัชญาศิลป์
จิตวิทยาในศิลปะและการออกแบบ
การสร้างสรรค์ศิลปะและการออกแบบกับชุมชน
การบริหารและจัดการโครงงานสร้างสรรค์กับชุมชน
วิชาเอกเลือก
วิชาเลือกเสรี
Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 2 Gallery Thumb 3 Gallery Thumb 4
ปี 4
ศิลปวิจารณ์
ระเบียบวิธีวิจัย
การสร้างสรรค์จัดการโครงงาน
สัมมนา
ศิลปนิพนธ
วิชาเอกเลือก
วิชาเลือกเสรี
Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 2 Gallery Thumb 3 Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 2 Gallery Thumb 3 Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 2
วิชาเอกเลือก
เครื่องปั้นดินเผา
จิตรกรรม
ประติมากรรม
ภาพพิมพ์
การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์
การออกแบบเครื่องแต่งกายและเครื่องประดับ
การออกแบบกราฟิกและตัวอักษร
วิชาเลือกเสรี
นิสิตสามารถเลือกเรียนรายวิชาที่เปิดสอนในมหาวิทยาลัยพะเยาหรือสถาบันอื่นที่มหาวิทยาลัยรับรอง ยกเว้นรายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
แนวทางการประกอบอาชีพ
Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 2 Gallery Thumb 3
1. นักออกแบบ ได้แก่ การออกแบบ ผลิตภัณฑ์ / บรรจุภัณฑ์ / กราฟิก / เครื่องประดับ/ สิ่งทอ /เครื่องปั้นดินเผา/สื่อ
2. ผู้ประกอบการในสายศิลปะและการออกแบบ
3. พนักงานหน่วยงานราชการตามกรอบคุณวุฒิการศึกษา
4. บุคลากรทางการศึกษา (โดยอาจต้องศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพครูเพิ่มเติม หลังสำเร็จการศึกษาหลักสูตร)
5. นักวิชาการ และที่ปรึกษาด้านศิลปกรรม
6. ศิลปิน
ค่าธรรมเนียมในการศึกษา
ปีละ 2 ภาคการศึกษา
ภาคการศึกษาที่ 1 - 21,000 บาท
ภาคการศึกษาที่ 2 - 21,000 บาท
ผลงานและกิจกรรม
กิจกรรมโครงการ พัฒนานักออกแบบ Koyori Project
Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 1
กิจกรรมประกวด Creative Eastern Lanna Awarrd 2019
Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 1
กิจกรรมเพ้นท์สะพานกว๊านพะเยา
Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 1
กิจกรรมภาพพิมพ์ ณ กาดหล่ายต้า
Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 1
กิจกรรมมหกรรมผ้าไหม 2563 ไหมไทยสู้เส้นทางโลก
Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 1
การทัศนศึกษา
การทัศนศึกษาภาคเหนือ
ณ หอศิลปะวัฒนธรรม หอฝิ่น หอศิลป์เมืองเชียงราย ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบภาคเหนือ (เชียงราย ลำปาง และเชียงใหม่) ในด้านศิลปะและการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ / บรรจุภัณฑ์ / กราฟิก /เครื่องประดับ/ สิ่งทอ /เครื่องปั้นดินเผา/สื่อ และศิลปกรรม
การทัศนศึกษาภาคกลาง
ณ หอศิลป์ ศูนย์การเรียนรู้ด้านศิลปะและการออกแบบ กรุงเทพมหานคร พิพิธภัณฑ์ด้านการออกแบบ TCDA (ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ) ณ กรุงเทพ อยุธยาประจวบคีรีขันธ์ ชลบุรี)
Gallery Thumb 1 Gallery Thumb 2 Gallery Thumb 3 Gallery Thumb 4 Gallery Thumb 5 Gallery Thumb 6 Gallery Thumb 7 Gallery Thumb 8 Gallery Thumb 9 Gallery Thumb 10 Gallery Thumb 11 Gallery Thumb 12
อาจารย์หลักสูตรศิลปะและการออกแบบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วีรดา บัวบังใบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วีรดา บัวบังใบ
อาจารย์ ธเนศ ไข่แก้ว
อาจารย์ ธเนศ ไข่แก้ว
อาจารย์ ทวี เสรีวาศ
อาจารย์ ทวี เสรีวาศ
อาจารย์ ปวินท์ ระมิงค์วงศ์
อาจารย์ ปวินท์ ระมิงค์วงศ์
MR. ALEXANDER FACHANG WANG
MR. ALEXANDER FACHANG WANG
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นิธิศ วนิชบูรณ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นิธิศ วนิชบูรณ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธงไทย วงศ์วิชัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธงไทย วงศ์วิชัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อารยา รวมสำราญ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อารยา รวมสำราญ
อาจารย์ พัชราภรณ์ ลือราช
อาจารย์ พัชราภรณ์ ลือราช
อาจารย์ปรียาชนก เกษสุวรรณ
อาจารย์ปรียาชนก เกษสุวรรณ
อาจารย์ เอกพงษ์ เรือนอุ่น
อาจารย์ เอกพงษ์ เรือนอุ่น
อาจารย์ อธิพงษ์ สัทธรรมนุวงษ์
อาจารย์ อธิพงษ์ สัทธรรมนุวงษ์
รศ. ว่าที่ ร.ต. ดร. ชาญคณิต อาวรณ์
รศ. ว่าที่ ร.ต. ดร. ชาญคณิต อาวรณ์
คำถามที่พบบ่อย
Q : การเรียนหลักสูตรศิลปะและการออกแบบจะต้องมีพื้นฐานทักษะอะไรมาก่อนบ้าง?
A : ไม่จำเป็นต้องมีพื้นฐานขอแค่มีใจรักในศิลปะ
Q : เรียนจบแล้วประกอบอาชีพอะไรได้บ้าง?
1. นักออกแบบ ได้แก่ การออกแบบ ผลิตภัณฑ์ / บรรจุภัณฑ์ / กราฟิก / เครื่องประดับ/ สิ่งทอ /เครื่องปั้นดินเผา/สื่อ
2. ผู้ประกอบการในสายศิลปะและการออกแบบ
3. พนักงานหน่วยงานราชการตามกรอบคุณวุฒิการศึกษา
4. บุคลากรทางการศึกษา (โดยอาจต้องศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพครูเพิ่มเติม หลังสำเร็จการศึกษาหลักสูตร)
5. นักวิชาการ และที่ปรึกษาด้านศิลปกรรม
6. ศิลปิน